Innovative Healthcare

เจาะลึกเทรนด์นวัตกรรมการแพทย์ อัปเดตกระแสการดูแลสุขภาพ

Genomics กุญแจไขความลับสิ่งมีชีวิต พลิกโลกการลงทุน

โพสต์เมื่อ 18 สิงหาคม 2564

Genomics ฟังดูเหมือนเป็นเรื่องซับซ้อนและไกลตัว แต่แท้จริงแล้ว Genomics เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากที่สุด เพราะเป็นการศึกษาองค์ประกอบต่างๆ ภายในตัวเราที่ทำให้มนุษย์แต่ละคนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน และนำมาสู่การวินิจฉัยความผิดปกติของร่างกายและการรักษาที่มีประสิทธิภาพกว่าในอดีต Genomics จะเป็นกุญแจดอกสำคัญที่เข้ามาพลิกโฉมวงการแพทย์ให้พัฒนาได้อย่างก้าวกระโดด และในขณะเดียวกันกลุ่มธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องกับ Genomics จะได้รับความสนใจมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และคาดว่าจะกลายเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่จะพลิกโลกการลงทุนในอนาคต

อ่านต่อ >>

นวัตกรรมการแพทย์ กับการต่อสู้ไวรัสกลายพันธุ์

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

กว่า 1 ปี ที่โลกต้องต่อสู้กับเชื้อไวรัสของ COVID-19 อย่างหนักหน่วง แม้การคิดค้นวิจัยและได้มาซึ่งวัคซีนจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว และสามารถแจกจ่ายวัคซีนได้ทั่วถึงในหลายประเทศ แต่ข่าวการกลายพันธุ์ของ COVID-19 ที่มีอย่างต่อเนื่องในช่วงนี้ กลับมาสร้างความหวาดวิตกอีกครั้ง และเกิดเป็นคำถามว่า วัคซีนที่เรามีอยู่ในปัจจุบันมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะต่อสู้กับเชื้อกลายพันธุ์ของ COVID-19 นี้หรือไม่

อ่านต่อ >>

โต้กลับ COVID-19 ด้วยวัคซีน Booster Dose

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

ปัจจุบันจำนวนวัคซีนที่ใช้ไปเพื่อต่อสู้กับโรค COVID-19 ฉีดไปแล้วกว่า 2.39 พันล้านโดส โดยมีประชากรที่สามารถเข้าถึงวัคซีนโดสที่ 2 ราว 16% ของประชากรโลก แน่นอนว่าเป้าหมายที่สำคัญของการฉีดวัคซีน คือ การสร้าง Herd Immunity หรือภูมิคุ้มกันหมู่ และให้ทั่วโลกสามารถเปิดประเทศได้อย่างปกต ซึ่งต้องมีประชากรได้รับวัคซีนครบถ้วนขั้นต่ำ 75% ของจำนวนประชากร อย่างไรก็ตาม ความหมายของ Herd Immunity เราอาจตีความคลาดเคลื่อนไปว่าจะไม่มีโรค COVID-19 บนโลกใบนี้แล้ว อันที่จริงผลลัพธ์สุดท้ายของ Herd Immunity คือ ต้องเปลี่ยนจากโรคระบาดร้ายแรง ให้เป็นโรคประจำถิ่นที่ลดอัตราเสียชีวิต ลดอาการ หรือป้องกันการติดเชื้อให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้

อ่านต่อ >>

รังสีโปรตอน “มิสไซล์” ล็อคเป้า-ยิง ความหวังใหม่รักษามะเร็ง

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

ถึงเวลาที่คุณต้องทำความรู้จัก “รังสีโปรตอน” ซึ่งเรียกได้ว่าสามารถล็อคเป้ายิงเพื่อรักษามะเร็งได้ดีกว่าที่เคย ทำไมจึงเป็นแบบนั้น? รังสีนี้แตกต่างจากรังสีรักษาในอดีตอย่างไร? เราจะพาคุณไปรู้จักกับ “มิสไซล์ รักษามะเร็ง” นี้กัน

อ่านต่อ >>

“โรคอัลไซเมอร์” กำลังจะมี “ยา” ซึ่งเพิ่มโอกาสในการรักษาให้หายได้!?!?

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

“Liquid Biopsy” จะช่วยเพิ่มโอกาสรอดให้กับผู้ป่วยมะเร็งได้อย่างไร ?

อ่านต่อ >>

"Liquid Biopsy” จะช่วยเพิ่มโอกาสรอดให้กับผู้ป่วยมะเร็งได้อย่างไร?

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

“Liquid Biopsy” จะช่วยเพิ่มโอกาสรอดให้กับผู้ป่วยมะเร็งได้อย่างไร ?

อ่านต่อ >>

mRNA Vaccines, New S-curve of Healthcare Industry

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

ในปี ค.ศ. 1796 นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ Edward Jenner ได้สร้างวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ หรือ ฝีดาษ ซึ่งถือว่าเป็นวัคซีนชนิดแรกของโลก โดยมีวิธีคือการนำเชื้อไวรัสที่ตายแล้วฉีดเข้าไปในร่างกาย เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัส เสมือนได้รับเชื้อไวรัสโดยตรงแต่ไม่ทำให้เกิดโรค ซึ่งวัคซีนเชื้อตายนั้นเป็นวัคซีนที่อยู่คู่กับมนุษยชาติมาตลอด 200 ปี

อ่านต่อ >>

วัคซีนโควิดสูตรคนไทย ... อีกก้าวสำคัญด้าน Biotech

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

เมื่อไม่นานมานี้ มีข่าวว่าประเทศไทย สามารถคิดค้นวัคซีน COVID-19 ซึ่งได้มีการทดสอบทางคลินิกระยะที่ 1 ให้กับอาสาสมัคร เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ...แน่นอนว่า นี่คืออีกก้าวสำคัญของประเทศไทยด้านนวัตกรรมการแพทย์ และยังถือเป็นจุดสำคัญที่เราอยากจะเน้นย้ำกับคุณว่า ถึงเวลาที่ต้องลงลึกกับธุรกิจ Biotechnology แล้ว

อ่านต่อ >>

เมื่อติดโควิด-19 จะมีอาการรุนแรงแค่ไหน? DNA ตอบได้!

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

เคยสงสัยหรือไม่ว่า ทำไมอาการของผู้ป่วยโรคโควิด19 เกิดขึ้นกับแต่ละคนในรูปแบบที่ต่างกัน และมีหลากหลายอาการ ตั้งแต่อาการคล้ายโรคหวัดธรรมดา ไปจนถึงอาการรุนแรง เช่น ปอดอักเสบรุนแรง หรือระบบทางเดินหายใจล้มเหลว … เชื่อหรือไม่ DNA มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ !?!

อ่านต่อ >>

Genetics ศาสตร์อันดับ 1 ด้านการแพทย์

โพสต์เมื่อ 19 เมษายน 2567

“กลุ่มธุรกิจการแพทย์” ในปัจจุบันมีบทบาทอย่างมากในยุคสังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) ซึ่งเป็นหนึ่งใน Megatrend โดยเป็นธุรกิจที่สามารถตอบสนองต่อกระแสสังคมผู้สูงอายุได้ทันที โดยผนวกกับการนำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตระหว่างการรักษา การฟื้นฟูหลังการรักษาของผู้ป่วย หรือลดอัตราการเสียชีวิตในกลุ่มโรคไม่ติดต่อร้ายแรง (Non-communicable Diseases: NCDs) ที่มักเกิดกับผู้สูงอายุและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึงกว่า 70% จากผู้เสียชีวิตทั้งหมด เช่น โรคมะเร็ง โรคอัลไซเมอร์ และโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น

อ่านต่อ >>