Health Protection Advisory

เรื่องราวเคล็ดลับการเลือกซื้อประกัน ที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน

รักษามะเร็งให้หายขาด ด้วยประกันมะเร็งที่เข้าถึงทุกนวัตกรรมการรักษา

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

เมื่อเรานึกถึงการรักษาโรคมะเร็ง เราอาจจะคุ้นเคยกับวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ด้วยการผ่าตัด การฉายรังสี (Radiotherapy) และที่ได้ยินบ่อยที่สุด ก็คือ การให้คีโมหรือที่ทางการแพทย์เรียกว่า เคมีบำบัด (Chemotherapy)

อ่านต่อ >>

วันมะเร็งโลก กับนวัตกรรมการรักษาโรคมะเร็ง

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ ของทุกปี องค์การอนามัยโลก (WHO) และสมาคมต่อต้านมะเร็งสากล (UICC) ได้กำหนดให้เป็นวันมะเร็งโลก เพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็ง โรคร้ายที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตลำดับต้น ๆ ของคนทั่วโลกและยังคงเป็นความท้าทายของวงการแพทย์มาอย่างต่อเนื่อง

อ่านต่อ >>

โรคมะเร็งรักษาได้ ถ้าเตรียมพร้อมกับค่าใช้จ่ายที่สูงลิบ

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

มะเร็งแห่งชาติ ยังคงเป็นโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยเป็นอันดับต้น ๆ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน แม้วิธีการรักษาโรคมะเร็งมีความก้าวหน้ามากขึ้นจากในอดีต แต่ก็ตามมาด้วยค่าใช้จ่ายที่สูงมากเช่นเดียวกัน

อ่านต่อ >>

โรคหัวใจ รักษาได้ แต่ค่าใช้จ่ายสูงลิบ

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

วันที่ 29 กันยายนที่ผ่านมา เป็นวันหัวใจโลก (World Heart Day) ที่จัดขึ้นทุกปี ซึ่งโรคหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ 1 ของคนทั่วโลก และเป็นสาเหตุต้น ๆ ของการเสียชีวิตของคนไทยเช่นกัน

อ่านต่อ >>

เข้าใจเงื่อนไขเฉพาะของประกันมะเร็ง

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

แบบประกันที่คุ้มครองโรคร้ายแรงแบบเฉพาะโรค เช่น ประกันมะเร็ง ได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งสอดรับกับข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่เปิดเผยว่า ยอดผู้ป่วยมะเร็งทั่วโลกปี 2020 ทะลุ 19 ล้านราย และคาดว่า จำนวนผู้ป่วยมะเร็งทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 47 ภายในปี 2040 เนื่องจากค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาให้หายขาด หรือประคองการรักษาให้มีสวัสดิภาพการใช้ชีวิตใกล้เคียงกับปกติสูงเกินหลักแสนบาทจนถึงหลักล้านบาทขึ้นไปต่อโรค ซึ่งการซื้อประกันมะเร็งเป็นเครื่องมือที่ดีสำหรับป้องกันความมั่งคั่งที่สะสมมาทั้งชีวิตไม่ให้สูญเสียไปเพียงเพื่อการรักษาโรคมะเร็ง และปัจจุบันแบบประกันมะเร็งต่างๆ มีวงเงินการรักษาสูงสุดที่ครอบคลุมกับค่ารักษาพยาบาลเกือบทั้งหมด

อ่านต่อ >>

อัลไซเมอร์ โรคหลงลืม กับค่าใช้จ่ายที่ต้องจำ

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

“โรคอัลไซเมอร์” อีกหนึ่งโรคร้ายที่ผู้สูงอายุมักเผชิญ ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขปี 2558 พบว่า ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ประมาณ 600,000 คน และมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 100,000 รายต่อปี ขณะที่ในปี 2573 จะมีผู้สูงอายุป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์เพิ่มสูงขึ้นถึง 1,177,000 คน อีกทั้งผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไปจะมีสัดส่วนในการเป็นโรคนี้ประมาณร้อยละ 5 - 8 และเมื่อมีอายุ 80 ปี สัดส่วนของการเป็นโรคอัลไซเมอร์จะสูงถึงร้อยละ 50

อ่านต่อ >>

7 ข้อสำคัญเรื่องประกันฯ ไม่รู้ถือว่าพลาด

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

TISCO Advisory ขอแนะนำ 7 ข้อควรรู้ ก่อนการซื้อประกัน แบบที่ว่า “ถ้าไม่ได้เช็ค อาจถือว่าพลาด”

อ่านต่อ >>

Ramsay Hunt Syndrome ความเจ็บป่วยที่ไม่ทันตั้งตัว

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

โรคภัยไข้เจ็บเป็นสิ่งที่ยากจะหลีกเลี่ยงและมักมาโดยไม่ทันได้ตั้งตัว เช่น กรณีของนักร้องชื่อดัง จัสติน บีเบอร์ วัย 28 ปี ที่ล่าสุดเกิดอาการใบหน้าอัมพาตครึ่งซีก ทำให้ต้องเลื่อนทัวร์คอนเสิร์ตทั่วโลกออกไปอย่างไม่มีกำหนดเพื่อรักษาตัว

อ่านต่อ >>

เจอ จ่าย จบ (ที่ไม่จบง่ายๆ) กับประกันโรคร้ายแรง

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

”ประกันเจอ จ่าย จบ” ไม่ได้มีแค่ประกันสำหรับโรค COVID-19 เท่านั้น แต่ประกันประเภทนี้ยังมีความคุ้มครองกลุ่ม “โรคร้ายแรง” อีกด้วย แม้จะยังไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง แต่ประกันเจอ จ่าย จบ สำหรับโรคร้ายแรงนั้น มีความคุ้มครองที่คุ้มค่า ทำให้ผู้เอาประกันเข้าถึงนวัตกรรมการรักษาที่ดี เพิ่มโอกาสให้หายขาดจากโรคได้มากขึ้น

อ่านต่อ >>

โรคร้ายแรง แชมป์คร่าชีวิตคนไทย ป้องกันค่าใช้จ่ายได้ด้วยประกัน

โพสต์เมื่อ 27 กรกฎาคม 2567

โรคร้ายแรงเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ที่คร่าชีวิตคนไทยมาตั้งแต่ปี 2559 และเพิ่มสูงขึ้นจนกลายเป็นอันดับ 1 ของการเสียชีวิตสูงสุดของไทยในปี 2563 ข้อมูลจากกองยุทธศาสตร์และแผนงานกระทรวงสาธารณสุข พบว่าคนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคร้ายแรง 126.3 คนต่อประชากร 100,000 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2559 ที่มีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 117.7 คนต่อประชากร 100,000 คน (ตามแผนภาพที่ 1) นอกจากนี้ยังพบว่า 10 สาเหตุหลักในการเสียชีวิติของคนไทยนั้น ส่วนใหญ่เป็นการเสียชีวิตที่เกิดจากกลุ่มโรคร้ายแรง อาทิ โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดในสมอง โรคปอดอักเสบ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน และโรคตับ เป็นต้น โดยมีโรคมะเร็งและเนื้องอกทุกชนิด

อ่านต่อ >>